ตั้ง ค่า Unifi Ap

4GHz และ Security ผ่านหน้า Group นี้เลยทันที่ ตั้งชื่อ SSID ให้กับ 2. 4GHz กำหนด Security ให้กับ 2. 4GHz 8. กำหนดค่า SSID ทั้ง ย่าน 5GHz และ Security ผ่านหน้า Group นี้เลยทันที่ กำหนดชื่อ SSID ให้กับ 5GHz กำหนด Security ให้กับ 5GHz 9. คลิก Save เพียงเท่านี้ก็สามารถกำหนด Group ต่างๆให้กับ Access Point ภายใน องค์กรได้เรียบร้อย

Number

ตั้ง ค่า unifi ap language ตั้ง ค่า unifi ap chez ตั้งค่า unifi ap

การตั้งค่าที่แนะนำสำหรับการเชื่อมต่อ 802.11 ac

168. 100. 0/23 ปิด hotspot ไว้ port 2, 3 ต่อให้ UAP-AC-LR port 4 ต่อเข้า PC ที่ใช้คอนฟิก Controller 6. 22 (ล่าสุด 6. 23 ออกตามมาติดๆ) เปิด Controller ครั้งแรก browser จะแจ้งไม่ปลอดภัย ให้เลือกขั้นสูง และไปยัง localhost(ไม่ปลอดภัย) browser แต่ละตัวอาจแสดงผลต่างกัน แต่หลักๆประมาณนี้ครับ Step1 ตั้งชื่อ controller ตรงนี้แก้ไขทีหลังได้ หรือถ้าต้องการ restore จาก backup controller ตัวอื่นก็ทำตรงนี้ Step2 ลงชื่อเข้า ubiquiti account(ถ้าไม่มีให้สมัคร) ubnt account Step3 Automatically Optimize Network จะแนะนำให้ปิด ถ้าเปิด 2.

รูปแบบ วิธีตั้งค่า UniFi Access Point จริงๆแล้วมีหลากหลายรูปแบบ หลากหลายวิธีครับ คู่มือนี้คงไม่ได้ทำให้ดูทั้งหมด จะยกตัวอยากให้ดูเป็น 2 รูปแบบ แต่ทำให้ดูจริงๆ หรือ Config แบบ Local คือการต่อตรงจาก Computer หรือ Laptop ของเราไปยัง UniFi Access Point เลยครับ คือ รูปด้านขวา ตามรูปด้านล่าง บทความนี้จะประกอบไปด้วยวิธีตั้งค่าต่างๆ ถ้าใครยังไม่เคยลง UniFi Controller คงต้องไปอ่านที่บทความก่อนหน้านี้ เสียบอุปกรณ์ให้ถูกต้อง อุปกรณ์ UniFi AC Lite, UniFi AC LR, UniFi AC Pro และรุ่นอื่นๆ ถ้าเป็นรุ่นเดี่ยว จะมี PoE Injector แถมมาพร้อมในชุด วิธีเสียบก็คือ 1. ช่องที่มีคำว่า PoE ให้ต่อ สาย LAN ไปที่ตัว UniFi ไม่ว่าจะรุ่นไหนก็ตาม 2. ช่องที่มีคำว่า LAN ให้ต่อ สาย LAN ไปที่ตัว Computer ที่จะ ตั้งค่า (ในกรณีนี้ทางเราจะตั้งค่าแบบ ต่อตรงเข้าคอมพิวเตอร์) ตามรูปด้านล่าง Fix IP Address LAN ของคอมพิวเตอร์ หลังจากที่ เสียบอุปกรณ์เข้ากับ Computer ของเราแล้ว ก็ต้องทำการ Fix ip ให้ Computer ของเราอยู่ในวงเดียวกับ อุปกรณ์ที่เราจะตั้งค่า ซึ่งโดยค่า Default ของ UniFi เกือบทุกรุ่น จะมีค่า Default IP คือ 192. 168. 1. 20 เพราะฉะนั้น เราก็ต้องตั้งค่า ขา LAN ของ คอมพิวเตอร์เราให้อยู่ใน วง ซึ่งจะเป็นอะไรก็ได้ ยกเว้น IP 192.

เข้า Web เพื่อ Download Software Unifi Controller Version ล่าสุด 2. ติดตั้งให้เรียบร้อย ถ้า PC ไม่เคยติดตั้ง JAVA Runtime ตัวโปรแกรมจะเข้าหน้า Web java ให้ Download และทำการติดตั้งให้เรียบร้อย 3. เปิดโปรแกรม Unifi Controller ถ้าไม่มีปัญหาอะไร จะเปิดโปรแกรมได้ปกติครับ Click [Launch a Browser to Manage the Network] ตัวโปรแกรมจะทำการเปิด Browser ขึ้นมา จะมี Error ในส่วน HTTPS 4. เข้าหน้า Unifi Setup Wizard ยังไม่ได้ต่อ Unifi AP เข้าระบบ เลยยังไม่มีรายชื่อ Device ขึ้นมาครับ ถ้ากำหนด Password ง่ายๆ ปุ่ม [Next] จะไม่ขึ้น ตั้งให้ยากๆหน่อย Cloud Login ให้ผ่านไปก่อน 5. Login เข้า Unifi Controller จะขึ้นหน้าจอ Dashboard 6. รายละเอียด Map จะเหมือนใน Software Unifi V4 ครับ เปลี่ยนรูปได้ 7. เชื่อมต่อ UAP-AC-M เข้าระบบ 2 ตัว รอแป๊บนึง จะขึ้นรายการ Access Point ขึ้นมา ให้ Click [ADOPT] พอ Status เป็น Connected ให้ Click [UPGRADE] ต้องเชื่อมต่อ Internet ไว้ด้วยนะครับ ถ้าไม่มีการ Upgrade จะไม่สามารถ Config ได้ 8. Menu Settings --> Site Site Name: ตั้งชื่อ Site งาน Advanced Feature: ถ้า Enable จะสามารถใช้ Mode Band Steering ได้ Automatic Upgrades: ควร Enable Automatice Upgrade Firmware ไว้ครับ Uplink Connectivity: Enble เพื่อที่จะทำ Wireless Uplink 9.

ตั้งค่า RSSI อุปกรณ์ UniFi AP

ผลการค้นหา: UniFi Controller คู่มือ cloud ฟรี ตั้งค่า unifi ap แสดง รายการ เขียนโดย kapnetwork เมื่อ Wed 23 Jun, 2021 อ่านต่อ Fri 12 Mar, 2021 Tue 24 Nov, 2020 Tue 28 Apr, 2020 Thu 09 Jan, 2020 Mon 06 Jan, 2020 Mon 07 Oct, 2019 Tue 03 Sep, 2019 Mon 19 Aug, 2019 Wed 07 Aug, 2019 Mon 05 Aug, 2019 Fri 02 Aug, 2019 Mon 29 Jul, 2019 Wed 24 Jul, 2019 Tue 25 Jun, 2019 Wed 05 Jun, 2019 Fri 31 May, 2019 Fri 17 May, 2019 รายการ

Menu Settings --> Site Site Name: ตั้งชื่อ Site งาน หรือ ตั้งชื่อ Wireless Controler Advanced Feature: ให้ Enable จะสามารถใช้ Mode Band Steering ได้เพื่อให้อุปกรณ์ AP บังคับให้ Cilent ที่รองรับ AC เชื่อมต่อในย่านความถี่นี้ก่อน Automatic Upgrades: ให้ Enable Automatice Upgrade Firmware ไว้ครับ เพื่อให้อัพเกรดเฟริมแวร์อัตโนมัติ เมื่อมีเฟริมแวร์ออกมาใหม่ Uplink Connectivity: ให้ Enable เพื่อที่จะทำ Wireless Uplink หรือ Mesh Wireless นั่นเอง 8.

Menu Settings --> Wireless Networks สร้าง WLAN Group ขึ้นใหม่ โดยการ Click [ +] Name: ชื่อ Group Mobility: เป็นการทำ Roaming แบบ Zero-Handoff) ต้องกำหนด Wireless Security เป็น WPA2 และ Channel ต้องตรงกัน ถ้าทำ Roaming แบบธรรมดา ตรงนี้ไม่ต้อง Click Enable ครับ Legacy Support: รองรับ 802. 11b ไม่น่าจะมีใครใช้แล้ว ไม่ต้อง Enable Click [Create New Wireless Network] ข้อสำคัญๆนะครับ Name/SSID: ชื่อสัญญาณ Wireless Security: Security สัญญาณ Wireless Guest Policy: จะเหมือนใน Version 4 ครับ ถ้า Click Enbale ต้องเปิด Software Controlle ไว้ด้วยครับ VLAN: กำหนด VLAN-ID ให้กับ SSID 10. กรณีที่ต้องการจำกัด Bandwidth ให้กับ Device ที่เชื่อมต่อ กำหนดที่ Menu --> User Groups 11. Menu --> Maintenance เมื่อ Config เรียบร้อย ให้ทำการ Backup ค่า Config ไว้ด้วยนะครับ ในกรณีที่เราเปลี่ยนเครื่องลง Software Unifi Controller ถ้าไม่ได้ Restore ค่า Config เดิม จะต้องทำการ Reset Unifi Access Point 12. Menu Hotspot ครับ เยอะไปนิดครับ เดี๋ยวขอทำเป็นอีกหัวข้อนึงนะครับ 13. Guest Policies กรณีที่ Enable Guest Mode ที่ข้อ 9 ต้องทำการ Config ที่ Menu นี้ด้วยครับ 14.

UniFi Controller: ตั้งค่า UniFi AP ด้วย Ubiquiti DDT [ล่าสุด 2020]

กด Adopt เพื่อเพิ่มอุปกรณ์ ทำการกด Adopt เพื่อเพิ่มอุปกรณ์ตัวดังกล่าวเข้า UniFi Cloud Controller ซึ่งสถานะจะเปลี่ยนเป็น ADOPTING 2. อุปกรณ์เปลี่ยนสถานะเป็น Provisioning เมื่อ Access Point เปลี่ยนสถานะเป็น ADOPTING เรียนร้อยแล้วสถานะถัดไปคือ PROVISIONING ซึ่ง UniFi Cloud Controller จะเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับUniFi AP และทำการ upload configuration ไปที่อุปกรณ์ 3. ตรวจสอบสถานะ UniFi AP บน UniFi Controller หลังจากอุปกรณ์ UniFi ได้รับ configuration จาก UniFi Cloud Controller เรียบร้อยแล้วอุปกรณ์จะทำการ reboot 1 ครั้ง และสถานะจะเปลี่ยนเป็น CONNECTED ซึ่งพร้อมแล้วสำหรับการ config เพื่อใช้งานด้านต่างๆ หรือการ update firmware ผ่านทาง UniFi Cloud Controller

มาที่ Menu Map ถ้า Adopt/ Upgrade AP เรียบร้อย จะมีรายการ Unifi ให้ลากมาที่ Map ได้เลยครับ 15. Click ที่ตัว Unifi AP Click รูปเฟือง จะเข้าหน้าจอ Properties กำหนด Alias (ชื่อ) เวลาติดตั้งหลายๆตัว ตั้งชื่อให้สื่อนิดนึงนะครับ กำหนดชื่อสัญญาณ Wireless โดยเลือกจาก WLAN Group ที่สร้างไว้ ชื่อสัญญาณสามารถตั้งชื่อทับของเดิมได้ครับ เมื่อแก้ไขแล้วให้ Click [Queue Changes] กำหนดหมายเลข IP Address ให้กับ Unifi AP หลักๆก็จะกำหนดประมาณนี้ล่ะครับ ทีนี้จะเป็นการ Config ระบบ Mesh ในอุปกรณ์ UAP-AC-M แบบง่ายๆสุดๆ รูปแบบการติดตั้งแบบ Mesh จะเป็นแบบนี้ครับ 1. ดึงสาย Lan ออกจากตัวที่เราจะทำเป็น Mesh (Rpeater) (แต่ POE เสียบไว้นะครับ) 2. ที่ Properties จะขึ้น Isolate และจะมี Menu Wireless Uplinks ขึ้นมา ให้ Click Actions ตนวจสอบค่า Signal อย่าให้เกิน -75dBm ครับ (ยิ่งลบมาก สัญญาณยิ่งแย่) เพราะถ้าสัญญาณรับจากต้นทางได้ไม่ดี ตัวที่จะ Repeate สัญญาณต้อ ก็จะไม่ดีตามไปด้วยครับ รอแป๊บนึง.... ถ้า Connected เรียบร้อยจะขึ้น Status CONECTED (WIRELESS) ทดสอบ Ping ไปหาตัวที่เป็น Wireless Uplink ต้อง Ping ได้ปกติครับ การทำระบบ MESH ต้องเปิด Software Unifi Controller ไว้ด้วยครับ เรียบร้อยครับ Linkback:

  • ตั้ง ค่า unifi ap computer
  • ตั้ง ค่า unifi ap human
  • ตั้ง ค่า unifi ap chez mamounette
Monday, 23 May 2022